วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557

''พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส''

Charles le Sage


พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 5 แห่งฝรั่งเศส (Charles le Sage) (21 มกราคม ค.ศ. 1338 -16 กันยายน ค.ศ. 1380) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1364 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1380 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของสงครามร้อยปีที่ทรงยึดดินแดนที่เสียไปแก่ราชอาณาจักรอังกฤษในสนธิสัญญาเบรทินยี (Treaty of Brétigny)


พระเจ้าพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 5 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1338 ที่แวงแซนน์ในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าจอห์นที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและ โบนนีแห่งโบฮีเมีย ดัชเชสแห่งนอร์มังดีผู้ที่สิ้นพระชนม์ไม่นานก่อนที่พระสวามีจะขึ้นครองราชย์ ต่อมาพระองค์ทรงเสกสมรสกับฌานน์แห่งบูร์บอง ในปีค.ศ. 1350และมีพระราชโอรสธิดาด้วยกันเก้าพระองค์ที่รวมทั้งพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสหลุยส์ที่ 1 ดยุคแห่งออร์เลอองส์ และแคทเธอรินแห่งวาลัวส์

วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557

ความเชื่อของชาวฝรั่งเศส.

  ''โชคลางที่ชาวฝรั่งเศสเชื่อ''

ความเชื่อบางความเชื่อของชาวฝรั่งเศสนะคะ อาจเป็นความเชื่อส่วนบุคคลก็ได้นะคะ บางความเชื่อก็เหมือนของไทยเราเหมือนกันน่ะค่ะ

เอามือแตะไม้แล้วอธิษฐาน


พบดอกหญ้าที่มีกลีบดอก๔กลีบ



แขวนเหล็กเกือกม้าไว้ที่ประตูบ้าน



ทำแก้วน้ำ แตก ( แก้วสีขาวหรือใส)



(เผลอไป)เหยียบขี้หมาด้วยเท้าซ้าย


เอามือแตะจุกหมวกกลาสีเรือ (ทหารเรือ ชั้นพลทหารและชั้นจ่า ใส่หมวกทรงกลมแบนสีน้ำเงิน มีเชือกขาวคาดด้านบนและมีจุกเป็นขนด้ายสีแดง) 


เห็นแมลงเต่าทองบินผ่านไป



เห็นรุ้งกินน้ำ





ส่วนลางร้าย หรือโชคร้าย ก็มีดังนี้ค่ะ
วันที่๑๓ของเดือนตรงกับวันศุกร์ (อันนี้เราทราบๆกันดีอยู่แล้ว)



ใส่เสื้อผ้าชุดใหม่ในวันศุกร์



ผู้นั่งร่วมโต๊ะอาหารมี๑๓คน (เป็นความเชื่อที่มากับคริสต์ศาสนา เหมือน วันศุกร์ที่ ๑๓)



คว่ำขนมปัง( บาแก็ต) ไว้บนโต๊ะ 




ทำขวดเกลือคว่ำบนโต๊ะ




เดินผ่านแมวดำในเวลากลางคืน 



เดินรอดบันได




      ให้หรือได้รับดอกคริสซองเตมส์ (ดอกเบญจมาส) และดอก เอยเยตส์(น่าจะเป็นดอกบานชื่น) ซึ่งเป็นดอกไม้ที่ใช้ในงานศพ (คนไทยจะไม่ให้ดอกซ่อนกลิ่นกัน เพราะเป็นดอกไม้ประดับหีบศพ)




วางหมวกไว้บนเตียงนอน



กางร่มในบ้าน



ทำกระจกเงาแตก (โชคร้ายไปเจ็ดปี)



ใช้ไม้ขีดไฟเพียงก้านเดียวจุดบุหรี่ถึงสามมวน 



วันเสาร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2557

''Pastis''

Pastis


            Pastis é o nome dado às bebidas alcoólicas aromatizadas com o anis. A palavra pastis provém do occitano provençal pastís, significando "pasta" ou "mistura", mas também aborrecimento, situação desagradável ou confusa.
            pastis resulta da maceração de diversas plantas. É feito com álcool destilado e, no seu processo de produção, são adicionadas ervas e flores, sendo, deste modo, uma bebida chamada de composta. Depois do processo de compostagem, é feito um licor ao qual é adicionado novamente o anis. A bebida surgiu na França, após a interdição do famoso absinto.
            pastis mais conhecidos são o Ricard, o Berger e o Pernod. Devem ser servidos em copos médios, em uma proporção de uma parte de anisado para 5 partes de água gelada.

Description

            Selon la réglementation européenne, le pastis est le résultat de l'aromatisation d'alcool neutre d'origine agricole avec des extraits d'anis vert, d'anis étoilé, de fenouil, ou de toute autre plante contenant le même constituant aromatique principal, ainsi que par des extraits naturels issus du bois de réglisse. Cette aromatisation peut être obtenue par trois procédés (ou une combinaison des trois) : macération et/ou distillation, redistillation de l'alcool en présence de ces plantes, ou adjonction d'extraits naturels distillés de plantes anisées1.
          La boisson contient donc de l'anéthol (de 1,5 à 2 g/l) apporté par les plantes anisées, ainsi que des chalcones et de l'acide glycyrrhizique(de 0,05 à 0,5 g/l) apportés par la réglisse.
Le titre alcoométrique volumique minimal est de 40 % (45 % pour le pastis de Marseille)1.
La teneur en sucre doit être inférieure à 100 g/l.

Consommation

          Il se boit en apéritif, complété avec de l'eau. On ajoute généralement de cinq à sept volumes d'eau fraîche pour un volume de pastis (en France, la dose usuelle dans les cafés et brasseries est de 2 cl de pastis). Mais libre à chacun de le boire plus ou moins léger, selon ses goûts et la température extérieure.
         Lorsque l'on fait le mélange en versant l'eau, on passe alors d'une couleur ambrée assez transparente à un jaune trouble un peu laiteux. Ce trouble est dû à une microémulsion d'anéthol, peu soluble dans l'eau ; si l'on attend quelques heures, le précipité disparaît. Ce phénomène, désigné sous le terme de « louchissement » (on dit que le pastis « louchit »), apparaît aussi lors de la réfrigération du pastis pur (on dit alors que le pastis « paillette »)2.
        La couleur jaune du pastis est due à un colorant, souvent du caramel. Il existe des pastis blancs sans colorant. Certains producteurs (Janot, etc.) ont même créé des pastis bleus.



ซุปหัวหอม

    ซุปหัวหอมสไตล์ฝรั่งเศส

  ส่วนผสม

          - น้ำมันมะกอก 1 ช้อนโต๊ะ


         - หอมใหญ่สับหยาบ 2 หัว



                  - น้ำตาลทรายแดง สำหรับปรุงรส



        -  ต้นกระเทียมซอย 2 ต้น



     - น้ำสต๊อกเนื้อ 3 ถ้วย



         - เกลือป่น สำหรับปรุงรส



            - พริกไทยป่น สำหรับปรุงรส
                           - ขนมปังฝรั่งเศสหั่นเป็นชิ้นหนา 4 แผ่น



                          - พาร์มีซานชีสขูดฝอย สำหรับโรยหน้า



                       - พาสเลย์สับละเอียด สำหรับโรยหน้า
วิธีทำ 
1. ใส่น้ำมันมะกอกลงในกระทะ นำขึ้นตั้งไฟอ่อนพอร้อน ใส่หอมใหญ่ลงผัดจนสุกนิ่ม และใส หรือ
นานประมาณ 20 นาที จนเป็นสีน้ำตาลอ่อน ๆ 

    2. ใส่น้ำตาลทรายแดงเล็กน้อย และต้นกระเทียมลงผัดประมาณ 10 นาที เติมน้ำสต๊อก เคี่ยวด้วยไฟอ่อนนานประมาณ 30 นาที ปรุงรสด้วยเกลือป่น และพริกไทยป่น คนผสมให้เข้ากัน ตักซุปใส่ถ้วย เตรียมไว้

     3. วางขนมปังฝรั่งเศสลงบนซุปที่ตักเตรียมไว้ โรยพาร์มีซานชีส และพาสเลย์สับ จากนั้นนำเข้าเตาอบ ใช้ไฟบน อบนานประมาณ 8-10 นาที หรือจนชีสละลาย ยกออกจากเตา พร้อมรับประทาน

         ** เสิร์ฟร้อน ๆ หอมกลิ่นชีส กรุบกรอบไปกับขนมปังฝรั่งเศส อิ่มท้องเบา ๆ อร่อย




วันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2557

Journée internationale .

''Journée internationale des droits de l'enfant''

              La journée internationale des droits de l'enfant est la date anniversaire de la signature de la Convention internationale des droits de l'enfant le 20 novembre 1989 par 191 pays.

Historique

               En 1954, l’Assemblée générale des Nations unies recommande que tous les pays instituent une Journée mondiale de l’enfance, sans pour autant en fixer le jour. Le choix du 20 novembre fait référence à la Convention internationale des droits de l'enfant du 20 novembre 1989, dont la date fait référence à la Déclaration des droits de l'enfant du 20 novembre 1959.
              À cette occasion, un certain nombre d'événements sont organisés par les acteurs du monde de l'enfance.
              En France, le Défenseur des enfants remet un rapport au Président de la République et au Parlement. L'Unicef organise un certain nombre de manifestations (dîners de gala, expositions, etc.).

Journée mondiale de l’enfance 2010
               Pour célébrer les 21e, 51e et 61e anniversaires de la Convention relative aux droits de l’enfant, de la Déclaration des droits de l’enfant et des Conventions de Genève, respectivement, le Comité international de la Croix-Rouge a publié une nouvelle brochure sur les enfants et la guerre. Cette brochure examine les risques auxquels sont exposés les enfants touchés par les conflits armés, les mesures prises pour répondre aux besoins spécifiques de ces enfants, et les règles de droit qui leur confèrent une protection particulière.
             Pour marquer cet événement, l'association Humanium publie officiellement un Portail des droits de l'enfant . Ce site Internet offre un accès à de nombreuses informations et des ressources sur les droits de l’enfant.


วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557

Valentin.

Le jour de la Saint-Valentin 

                             le 14 février, 14 กุมภาพันธ์ วันแห่งความรักเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า Le jour de la Saint-Valentin  หรือ คนฝรั่งเศสเรียกกันว่า la fête des amoureux et de l'amitié วันแห่งความรักเหมือนบ้านเราค่ะ  คู่รักจะถือโอกาสวันนี้บอกรักคนที่เขารัก เรียกว่า les mots doux   คนฝรั่งเศสก็เหมือนคนยุโรปทั่วไปนะค่ะ ให้ดอกกุหลาบสีแดง la rose rouge และ การ์ดวาเลนไทน์ cartes de vœux สถิติจาก wiki บอกว่าผู้หญิง 85 % ซื้อการ์ให้คนที่หล่อนพึงพอใจด้วยนะคะ


ประวัติ

                   ประวัติดั้งเดิมของ วันวาเลนไทน์ ซึ่งเป็น วันแห่งความรัก เกี่ยวพันทั้งกับประเพณีของชาวคริสเตียน และประเพณีดั้งเดิมของชาวโรมัน ที่สืบทอดกันมาเป็นเวลายาวนาน ตามความรับรู้ของชาวคริสต์ วันวาเลนไทน์ มีเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับนักบุญที่ชื่อ วาเลนไทน์ หรือ วาเลนตินัส อย่างน้อย 3 คน ซึ่งทุกคนเสียสละเพื่อเพื่อนมนุษย์ทั้งสิ้น
                         ขณะที่บางคนเชื่อว่า วันวาเลนไทน์ คือวันรำลึกถึงการเสียชีวิต หรือวันทำพิธีฝังศพของนักบุญ วาเลนไทน์ ในกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งอาจจะเริ่มมาตั้งแต่ประมาณปีคริสตศักราช 270 ในบางความเชื่อกล่าวว่า พิธีแสดงความรักต่อนักบุญ วาเลนไทน์ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นประเพณีที่เพื่อแสดงความเป็น คริสเตียน ของนักบวชในศาสนาคริสต์ เพื่อที่จะมาทดแทนเทศกาล ลูเปอร์คาเลีย (Lupercalia) ของชาวโรมันในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ที่แสดงความรักต่อเทพเจ้าฟอนนัสของชาวโรมัน ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งเกษตรกรรม และเทพเจ้ารอมมิวนัส และเทพเจ้าเรมัส เทพเจ้าผู้สร้างกรุงโรม
                        เรื่องราวของ วาเลนไทน์ ที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งยังมีหลักฐานหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน คือบทกวีที่เขียนโดย ชาร์ลส ขุนนาง แห่ง ออร์ลีนส์ ซึ่งเขียนให้กับภรรยาของเขาขณะถูกคุมขังในหอคอยกรุงลอนดอน เนื่องจากถูกจับกุมในระหว่างสงคราม อะจินคอร์ต บทกวีชิ้นนี้เขียนขึ้นเมื่อปีคริสตศักราช 1415 ถูกเก็บไว้ในห้องสมุด บริติช แห่งกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และหลายปีต่อมา เชื่อกันว่า พระเจ้าเฮนรี่ที่ 5 ได้จ้างวานให้กวีที่ชื่อ จอห์น ไลด์เกต ประพันธ์บทกวี วาเลนไทน์ ให้กับ แคทเธอรีน แห่ง วาโลอิส ในอังกฤษ เทศกาล วันวาเลนไทน์ ได้รับความนิยม มาตั้งแต่ราวศตวรรษที่ 17 ของปีคริสตศักราช

คิวปิด หรือ กามเทพ ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งความรักของชาวโรมัน ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ อันหนึ่งของ วันวาเลนไทน์ เนื่องจาก คิวปิด เป็นบุตรของเทพธิดา วีนัส ซึ่งเป็นเทพธิดาแห่งความรัก และความงามของชาวโรมัน และมักจะปรากฏอยู่บน บัตรอวยพร วันวาเลนไทน์ อยู่เสมอ



                     กลางศตวรรษที่ 18 เป็นเรื่องปกติธรรมดาสำหรับผู้ที่เป็นคนรักกัน หรือ แม้แต่มิตรสหาย ทุกชั้นชน ที่จะแลกเปลี่ยนของขวัญชิ้นเล็ก ๆ หรือส่งจดหมายถึงกัน

จนถึงยุคปัจจุบัน ก็ได้กลายเป็นการส่งบัตรอวยพร การซื้อของขวัญ และการมอบขนมและช็อกโกแลต ให้แก่กัน และจนถึงวันนี้การส่งอีเมล์ และ เอสเอ็มเอส เพื่ออวยพรเนื่องใน วันวาเลนไทน์ ก็อาจจะเป็นสื่อที่ได้รับความนิยมสูงสุดอีกสื่อหนึ่ง


Aimer,ce n’est pas regarder l’un l’autre

c’est regarder ensemble dans la même direction

ขอให้มีความสุขในวันวาเลนไทน์ 2014 นี้กันทุกคนนะคะ:)

''บาแก็ต''


baguette

(บาแก็ต)

  





บาแก็ตหรือ ขนมปังฝรั่งเศส เป็นขนมปังมีลักษณะรูปทรงเป็นแท่งยาวขนาดใหญ่ เปลือกนอกแข็งกรอบ เนื้อในนุ่มเหนียว และเป็นโพรงอากาศ มักนำมาหั่นเฉียงเป็นแผ่นหนา เพื่อรับประทานกับซุป ปาดเนยสด หรือประกอบทำเป็นแซนด์วิช

โดยปกติแล้วบาแก็ตจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ที่ 5 - 6 เซนติเมตร (2 - 2⅓ นิ้ว) และความยาวอยู่ที่ 165 เซนติเมตร (26 นิ้ว)

ส่วนผสมและวิธีทำ
- แป้งสาลีทำขนมปัง 600 กรัม
- ยีสต์ Instant 2 ช้อนชา (ยีสต์สำหรับขนมปังไม่หวาน)
 - น้ำตาล 1.5 ช้อนโต๊ะ
- เกลือ 2 ช้อนชา
          - น้ำมันพืช 2 ช้อนโต๊ะ
- น้ำ 340 ซีซี.



- ทำการนวดแป้งและพักให้ขึ้น 2 เท่าครั้งแรก 1 ช.ม.
- นำมาไล่ลมและนวดเล็กน้อยรอให้ขึ้นอีก 1 ช.ม.
รวมทั้งหมด 3 ช.ม.

- จากนั้นก็นำแป้งโด มาไล่ลมและแบ่งเป็น 3 ส่วน เท่าๆ กัน
ทำการคลึงและปั้นเป็นแท่งยาวประมาณ 35 ซ.ม. ใส่ไว้ในพิมพ์อบบขนมปังฝรั่งเศษ พิมพ์นี้ซื้อมาจากอเมริกา
- นำผ้าชุบน้ำคลุมไว้ รอให้ขึ้นเป็น 2 เท่า นำมีดกรีดที่ขนมปังเพื่อที่ไม่ให้ขนมปังแตกเวลาอบ
- เวลาอบตอนแรกก็ต้องพ่นน้ำเพื่อให้เตาอบมีความชื้น จะทำให้ขอบขนมปังมีกความกรอบ ไม่นิ่ม 
- ขนมปังในเดาอบ อบที่ 220 C ประมาณ 25 นาที ผลที่ได้คือ
- จากนั้นก็พลิกขนมปังกลับด้าน อบให้ผิวด้านสุกเกรียม