วันอังคารที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

''Pétanque''

Pétanque



             La pétanque  est un jeu de boules dérivé du jeu provençal. C'est le dixième sport en France par le nombre de licenciés : 311 971 joueurs recensés (fin 2010) ; il existe de nombreuses fédérations nationales affiliées à la fédération internationale. Fin 2007, on compte 558 898 licenciés répartis dans 78 pays, du Maroc au Viêt Nam. À ces chiffres, il convient de rajouter les pratiquants occasionnels, en vacances notamment, c'est-à-dire plusieurs millions d'amateurs.

C'est un sport principalement masculin (seulement 14 % des licenciés sont des femmes en France). Néanmoins, c'est l'un des rares sports où des compétitions mixtes sont organisées.

Historique


Le jeu de boules est aussi ancien que la civilisation des loisirs, passant d'Égypte en Grèce et aurait été introduit en Gaule par les Romains. Les boules ont d'abord été en argile, en pierre, puis en bois et enfin en acier. Mais, après les « bouleurs » du Moyen Âge, l'âge d'or des boules en tous genres fut certainement laRenaissance où la noblesse s'empare du jeu au même titre que le bilboquet et le jeu de paume (qui deviendra le tennis). Pour des raisons obscures, il semblerait que le jeu de boules ait été interdit au peuple de 1629 à la Révolution.


Dès le début du xixe siècle, le jeu de boules (dont l'interdiction n'a d'ailleurs jamais été tout à fait respectée) est répandu du nord au sud de la France. Dans Ferragus, (1833), Honoré de Balzac décrit les parties de boules du faubourg Saint-Marceau aujourd'hui Faubourg Saint-Marcel : « Cette esplanade, d'où l'on domine Paris, a été conquise par les joueurs de boules, vieilles figures grises, pleines de bonhomie, braves gens qui continuent nos ancêtres, et dont les physionomies ne peuvent être comparées qu'à celles de leur public. L'homme devenu depuis quelques jours l'habitant de ce quartier désert assistait assidûment aux parties de boules . Ce nouveau venu marchait sympathiquement avec le cochonnet, petite boule qui sert de point de mire, et constitue l'intérêt de la partie ; il s'appuyait contre un arbre quand le cochonnet s'arrêtait ; puis, avec la même attention qu'un chien en prête aux gestes de son maître, il regardait les boules volant dans l'air ou roulant à terre. Vous l'eussiez pris pour le génie fantastique du cochonnet. Il ne disait rien, et les joueurs de boules, les hommes les plus fanatiques qui se soient rencontrés parmi les sectaires de quelque religion que ce soit, ne lui avaient jamais demandé compte de ce silence obstiné. »


En 1850, la première société officielle, « le Clos Jouve », fut fondée dans la région de Lyon puis, en 1906, la Fédération lyonnaise et régionale ouvre la voie en 1933 à la Fédération nationale des boules qui deviendra Fédération française de boules (FFB) en 1942. Bien que regroupant nombre de jeux de boules (« boule des berges », « boule en bois », « jeu provençal »), la FFB fut dominée par le jeu de boule lyonnaise (128 000 joueurs en 1945), jusqu'au début du xxe siècle.
Au xixe siècle, alors que chaque région, ou presque, introduit une variante d'usage, les méridionaux se passionnent pour la longue ou jeu provençal avec des règles simplifiées, le libre choix du terrain, mais où les tireurs font trois pas de course pour prendre leur élan. C'est ce jeu que Marcel Pagnol décrit dans ses souvenirs d'enfance (Le Temps des amours) et qui fut intégré dans le film Le Château de ma mère.
En 1904, un Alsacien du nom de Félix Rofritsch entreprit la fabrication des premières « boules cloutées » (en bois recouvert d'une carapace de métal, formée de clous) dans son atelier de la rue des Fabres, à Marseille, sous le label de « La Boule Bleue ».

Le jeu provençal donnera naissance en 1907 à la pétanque, lors de la partie historique à La Ciotat où un champion de jeu provençal, Jules Hugues dit « Lenoir », ne pouvant plus jouer à son jeu préféré à cause de ses rhumatismes, s’est mis un jour, à tracer un rond, envoyer le but à 5-6 m, et, les « pieds tanqués », à jouer ses boules pour se rapprocher du cochonnet. Ceci se passait sur le terrain de boules d’un café « La boule étoilée » (terrain baptisé ainsi en clin d'œil aux boules cloutées de l'époque) dont les propriétaires s'appelaient Ernest et Joseph Pitiot. Les deux frères comprirent vite l'intérêt de ce sport, notamment Ernest qui s'appliqua à en finaliser les règles.
Les innovations sont les suivantes :Il faudra néanmoins attendre le premier concours officiel à La Ciotat en 1910 pour que le mot soit officialisé. Le terme vient des mots de l'occitan provençal  « pied » et tanca « pieu », donnant en français régional l'expression « jouer à pétanque » ou encore « pés tanqués », c’est-à-dire avec les pieds ancrés sur le sol, par opposition au jeu provençal où le joueur peut prendre de l'élan.
  • le jeu se pratique sur un terrain plus court ;
  • le joueur lance sa boule sans élan ;
  • les pieds joints, à partir d'un cercle tracé au sol.

La première boule en acier aurait été fabriquée en 1927 à Saint-Bonnet-le-Château, qui abrite à présent le Musée international pétanque et boules. La même année, les règles de la pétanque furent codifiées, mais ce n'est qu'en 1930 que les traditionnelles boules en bois cloutées furent remplacées par celles en acier. C'est à Jean Blanc que l'on doit cette évolution.
La Fédération française de pétanque et de jeu provençal (FFPJP) voit le jour le 31 juillet 1945 quand, forte de ses 10 000 membres, elle peut enfin quitter la section provençale de la FFB . Quant à la Fédération internationale, elle fut fondée le 8 mars 1958 à Marseille, même si c'est en Belgique, àSpa, que ses premières bases furent jetées, un an plus tôt.


วันจันทร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2556

''Disneyland Resort Paris''

Disneyland Resort Paris




                   Disneyland Resort Paris ou Eurodisney é um monumento e complexo turístico da The Walt Disney Company localizado em Marne-la-Vallée, a 32 km de Paris. É a atração turística mais visitada da Europa, tendo atraído 12.8 milhões de visitantes em 2006 e 15.3 milhões em 2008.
resort consiste em dois parques temáticos, um dedicado aos Estúdios Disney e sete hotéis do conglomerado Disney. O parque foi inaugurado em 1992 e é o segundo parque da Disney fora dos Estados Unidos (depois do Tokyo Disney Resort).
O complexo foi objeto de controvérsia durante sua construção nas décadas de 80 e 90, quando um número significativo da população local,Sindicatos e até algumas celebridades francesas protestaram contra sua inauguração.

Criação e Desenvolvimento

                Em meio ao sucesso da tradicional Disneyland em Anaheim e do Walt Disney World na Flórida, surgiram planos para construir um parque similar na Europa ainda na década de 1970. Sob a liderança de Card Walker a Tokyo Disney Resort foi inaugurada em 1983 com um grande número de visitantes, motivando a Disney a planejar a construção. Já em 1984 os diretores do projeto apresentaram uma sugestão de 1.200 lugares em toda a Europa, onde poderia ser construído o parque da Disney. Em Março de 1980, as sugestões de lugares para a construção diminuíram para apenas cinco lugares, dois na França, outros dois na Espanha, um em Portugal os três representavam um avanço econômico para o conglomerado Disney. A Disney já havia expressado um certo interesse na cidade de Toulon, perto de Marselha, mas a empresa acabou por escolher a pequena cidade de Marne-la-Vallée por esta estar perto de Paris. Michael Eisner, diretor executivo da Disney, fechou acordo com o Governo francês e adquiriu uma área de 20 km² (4.940 acres) em Dezembro de 1985. A construção começou em Agosto de 1988 e em Dezembro de 1990, um centro de visitas chamado Espace Euro Disney já dava informações sobre a conclusão do complexo. O primeiro parque temático foi inaugurado em 1992.



Nomes

"Disneyland Resort Paris" é somente um dos nomes vários nomes que o complexo tem recebido desde seu planejamento na década de 80.
Como os americanos, a palavra "Euro" deve ser glamorosa e excitante. Para os europeus se tornou um termo associado com empresas, poder e comércio externo. Rebatizá-lo de "Disneyland Paris" foi uma forma de relacioná-lo com umas das mais românticas e lindas cidades do mundo.


วันอาทิตย์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2556

''ภาษาฝรั่งเศส''


ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาฝรั่งเศส (ฝรั่งเศสFrançais) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ (ฟรองโกโฟน) ประมาณ 77 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 128 ล้านคน
ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไทย


ประวัติ

ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ กล่าวคือ เป็นภาษาที่มีต้นกำเนิดจากภาษาละตินที่พูดกันในจักรวรรดิโรมันโบราณ ก่อนหน้าที่ดินแดนที่เป็นที่ตั่งประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบันจะอยู่ใต้การปกครองของโรมัน ดินแดนดังกล่าวเคยอยู่ใต้การปกครองของพวกกอล ซึ่งเป็นหนึ่งในชนชาติเซลต์ ในสมัยนั้นดินแดนประเทศฝรั่งเศสมีคนที่พูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กันหลายภาษา แม้ว่าชาวฝรั่งเศสจะชอบสืบที่มาของภาษาของตนไปถึงพวกโกล (les Gaulois) แต่มีคำในภาษาฝรั่งเศสเพียง 2,000 คำเท่านั้นที่มีที่มามาจากภาษาของพวกโกล ซึ่งโดยมากจะเป็นคำที่ใช้เป็นชื่อสถานที่ หรือเป็นคำที่มีความหมายเกี่ยวกับธรรมชาติ
หลังจากที่ชาวโรมันได้เข้ามายึดดินแดนของพวกโกล คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นก็ได้เปลี่ยนมาพูดภาษาละติน ซึ่งภาษาละตินที่พูดกันในบริเวณนี้ ไม่ใช่ภาษาละตินชั้นสูงแบบที่พูดกันในหมู่ชนชั้นสูงของกรุงโรม แต่เป็นภาษาละตินของชาวบ้าน (vulgar latin) ที่พูดกันในหมู่พลทหาร นอกจากนี้ ภาษาละตินที่พูดกันอยู่ในฝรั่งเศสนั้น ก็ได้รับอิทธิพลจากภาษากอลอยู่พอควร เนื่องจากสิ่งของบางอย่างที่ใช้กันอยู่ในกอล พวกโรมันไม่มีชื่อเรียก จึงต้องขอยืมคำในภาษาโกลมาเรียกสิ่งของเหล่านั้น เช่น les braies ซึ่งแปลว่าเครื่องแต่งกายจำพวกกางเกงของชาวโกล


วันศุกร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ขนมมาการอง

มาการอง (Macaron) 



         เป็นขนมหวานที่มีต้นกำเนิดจากประเทศฝรั่งเศส มีส่วนประกอบหลักของ Almond น้ำตาล และไข่ขาว มีลักษณะคล้ายคุ้กกี้ชิ้นเล็กสองอันประกบกันมีไส้ตรงกลาง มีสีสันสดใส กรอบนอกนุ่มใน สอดไส้ตรงกลางด้วยกานาช (Ganache) มีหลายรสชาติ เช่น ช็อกโกแลต สตรอเบอร์ รี่ วานิลลา อัลมอนด์ หรือผลไม้ตามฤดูกาล เป็นต้น และมักนิยมทานคู่กับชา หรือ กาแฟ


มาการอง เป็นที่รู้จักครั้งแรกในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ซึ่งเป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สมัยนั้นข้าวยากหมากแพง เนื้อสัตว์ โปรตีนไม่มีให้รับประทานมากมายนัก เหล่าแม่ชีชาวอิตาเลียนที่อพยพมายังประเทศฝรั่งเศสจึงดำรงชีพอยู่ด้วยอัลมอนด์ เพราะมีคุณค่าทางอาหารไม่แพ้เนื้อสัตว์ โดยนำมาประกอบเป็นอาหารหรือขนมหลายประเภท หนึ่งในนั้นคือ ขนมจากอัลมอนด์ ซึ่งต่อมากลายเป็นของหวานที่ชาวฝรั่งเศสชื่นชอบมาจนถึงปัจจุบัน



สเน่ห์ของมาการองไม่ได้อยู่ที่สีสันสดใสเท่านั้น ว่ากันว่ามาการองที่ดีต้องเริ่มตั้งแต่รูปร่างคล้ายกับโดมแบน ๆ มองดูจากด้านบนเป็นวงกลม ผิวด้านบนของขนมเรียบมันจากความละเอียดของอัลมอนด์บด ส่วนที่สำคัญคือ “Foot” บางตำราเรียก ”Skirt” รอยหยักคล้ายลูกไม้ชายกระโปรงที่บางกรอบ ซึ่งมีวิธีการทำที่ยุ่งยากพอควร อีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญคือ กลิ่นหอมหวาน เคล็ดลับอยู่ที่หลังจากนำมาการอง 2 ชิ้นมาประกบกันแล้ว ต้องเก็บไว้ในที่เย็น 1 คืน เพื่อให้ไส้รสชาติต่าง ๆ ซึมซาบเข้าสู่ชั้นของคุกกี้ นอกจากนี้ความชื้นจากไส้ยังทำให้มากาฮองมีความนุ่มหนึบเวลาเคี้ยวอีกด้วย



คุณลักษณะของมาการองที่ดี จะต้องมีรสชาติที่ผสานกันอย่างลงตัวระหว่างไส้กานาชและเนื้อคุกกี้ ส่วนสูงที่สมดุลของตัวคุกกี้ชิ้นบนและล่างที่มีขนาดเท่า ๆ กัน รวมทั้งไส้ที่บีบพอดีขอบให้เห็นเป็นเส้นเล็ก ๆ ตลอดทั้งชิ้น

ส่วน มาการูน (Macaroon) คือขนมที่ชาวอเมริกันดัดแปลงจากมากาฮองของประเทศฝรั่งเศสโดยใช้มะพร้าวป่น แทนอัลมอนด์บด ทางตอนเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกาเรียกขนมชนิดนี้ว่า “Coconut Macaroon” นิยมจุ่มลงในซอสช็อกโกแลตก่อนรับประทาน แต่ในศตวรรษที่ 20 ของหวานสไตล์ฝรั่งเศส เริ่มเข้ามามีอิทธิพลในประเทศสหรัฐอเมริกา มาการูน จึงได้รับความนิยมน้อยลง บวกกับมะพร้าวหาได้ยากและมีราคาแพง ร้านขนมต่าง ๆ จึงหันมาใช้อัลมอนด์บดเหมือนมากาฮอง อันเป็นที่มาของความสับสนระหว่าง 2 คำนี้




*ใน ประเทศอังกฤษ ยังเรียก “Macaron” ว่า “Macaroon” เนื่องจากเป็นที่รู้จักและมีความเป็นสากลมากกว่า

ที่มา: นิตยสาร Food Paper ฉบับที่ 70 เดือนมีนาคม 2553 หน้า 18 - 19

วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ชาวฝรั่งเศส.

ชาวฝรั่งเศส

                 ชาวฝรั่งเศส (อังกฤษ: French, ฝรั่งเศส: Français) คือกลุ่มผสมของชาวเคลต์ ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี โดยมีประชากรประมาณ 85 ล้านคนทั่วโลก โดยมีประมาณ 66 ล้านคนในประเทศฝรั่งเศส ในสหรัฐอเมริกา 8.3-11 ล้านคน ในประเทศแคนาดา ประมาณ 4.7 ล้านคน และในประเทศแอฟริกาใต้ ประมาณ 2 ล้านคน และที่อื่นๆ ทั่วโลก โดยมีการขยายสังคมเพิ่มในช่วงการล่าอาณานิคม


                ประชากรของประเทศฝรั่งเศส เท่าที่สำรวจครั้งล่าสุดในปี พ.ศ.2521 ปรากฎว่ามีพลเมืองประมาณ 50,300,000 คน ผู้คนพลเมืองจะมีอาชีพในทางการเกษตรกรรรมและอุตสาหกรรม แหล่งเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมได้แบ่งแยกออกไปตามความเหมาะสมเพื่อให้เกิดความสมดุลย์ระหว่างผลิตผลทั้งสองประเภทนี้ โดยคำนึงถึงปัญหาเรืองอาหารการกินของประชากรภายในประเทศ ปัญหาการใช้แรงงานในการผลิตอุตสาหกรรมให้เพียงพอสำหรับใช้สอยและส่งเป็นสินค้าออกไปแข่งขันกับนา นา ประเทศอย่างมั่นคง
เขตภูมิภาคประเภทเกษตรกรรม ได้แก่พื้นที่ราบลุ่มต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่มากมายในส่วนต่าง ๆ ของประเทศ เช่น ที่ราบลุ่มบริเวณรอบนอกของปารีส มีการปลูกพืชจำพวกข้าวสาลี หัวผักกาด, น้ำตาล, เลี้ยงสัตว์จำพวกหมู, วัวนม, และสัตว์มีปีกอื่นๆ อีกตามสมควร 
เขตอุตสาหกรรม แหล่งอุตสากรรมต่าง ๆ ของฝรั่งเศสกระจัดกระจายอยู่ในเมืองต่าง ๆ แต่พอจะจำแนกได้เป็น 4 เขตใหญ่ ๆ แต่ละเขตมีการผลิตอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ทั้งอุตสาหกรรมหนักและอุตสาหกรรมขนาดเล็ก โดยเฉพาะแร่เหล็กมีมากที่สุดในเมืองลอร์เรน (Lorraine) เป็นแหล่งสำคัญของแร่เหล็ก ดังนั้นอุตสาหกรรมด้านนี้จึงมีความสำคัญมากแม้ว่าแร่เหล็กของฝรั่งเศสจะมีคุณภาพเพียง 30 % ของน้ำหนัก สินแร่มีเปอร์เซ็นต์ต่ำกว่าแร่เหล็กของสวีเดน ซึ่งมีเปอร์เช็นต์สูง 60 เปอร์เช็นต์ แต่ประโยชน์ที่ได้รับคุ้มค่ากับการลงทุน และถือว่าประเทศฝรั่งเศสมีปริมาณแร่เหล็กมากกว่าประเทศอื่น ๆ ในทวีปยุโรป




การแต่งกายของชาวฝรั่งเศสในยุคต่างๆ

การแต่งกายของชาวฝรั่งเศส


ฝรั่งเศสสมัยฟื้นฟู 
สมัยพระเจ้าชาร์ลที่ 8 (1483-1498) หลุยส์ที่ 12 (1498-1515) 
ผู้ชาย ใส่เสื้อรวม 3 ชั้น สวมเสื้อชั้น ในเป็นผ้าเนื้อบาง มีตกแต่งที่คอด้วยลูกไม้หรือกำมะหยี่ มีเสื้อตัวสั้น อีกชั้น เรียก Pourpoint เป็นเสื้อคอกว้าง นิยมคอเหลี่ยมนุ่งกางเกงรัดรูป มีสีสัน มีเสื้อ คลุม

ผู้หญิง เสื้อเป็นแบบเข้ารูป ชั้น ในจะมีรัดทรงทำจากผ้าลินิน เสื้อมี 2 แบบ
  • แบบอิตาเลียน จะเป็นเสื้อตัวยาวถึงพื้น แขนยาว พองรัดเป็นปล้อง ๆ
  • แบบฝรั่งเศส ลักษณะเหมือนกัน แต่แขนกว้างพับตลบเป็นขอบใหญ่
นิยมเสื้อคอสี่เหลี่ยม กระโปรงทรง Aline บาน ผ่าหน้าแยกให้เห็นชุดชั้น ใน ข้างในกระโปรง มีผ้าหนา ทำเป็นกระโปรงชั้น ในเพื่อให้กระโปรงชั้น นอกทรงรูปอยู่ได้

รองเท้า ทำจากไหม กำมะหยี่ นิยมหัวเหลี่ยม มีสายคาดทำด้วยทองหรือโลหะ
สมัยพระเจ้าฟรังสวาที่ 1 (1515-1547) พระเจ้าเฮนรี่ 2 (1547-4559) 
ทั้งชายและหญิงยังนิยมสวมเสื้อคอกว้าง สี่เหลี่ยม และคอระบายสูงติดลำคอ แขนกว้าง และพองเป็นปล้อง ๆ นิยมเจาะผ้า กางเกงผู้ชายจะรัดปลายขาติดกับถุงเท้า มีเจาะผ้าตามตัว กางเกงให้เห็นผ้าชั้น ในเรียก Panes Breeches

ผู้หญิงเริ่มใส่กระโปรงชั้น ในแบบมีโครงเป็นสุ่มเรียก Hoop ช่วงบนของโครงกระโปรง ทำด้วยผ้าเนื้อหนา ช่วงล่างทำด้วยหวาย กางออกจากเอวถึงพื้น เรียกทรง Conical Shape จะมี Cotte สวมทับบนสุ่มเป็นชุดที่ปักฝีมืองดงาม กระโปรงชั้น นอกจะผ่าหน้าให้เห็นรอยปัก ตัวเสื้อคับ เข้ารูป มีเครื่องรัดทรงเรียกว่า Basquine ไม่เรียกว่า Corset

ทรงผมยังคงไว้ทรง Madonna แล้วมีผ้าคลุม มีปักตกแต่งด้วยมุก

สมัยพระเจ้าเฮนรี่ที่ 2 รูปทรงกระโปรงเป็นสุ่มกว้างออกด้านข้าง โดยใส่นุ่นหรือสำลี หนุนเสริมให้กางออก เครื่องเสริมกระโปรงทำโดยใช้ลวดหรือเหล็กหรืองาช้างหรือเงิน ใช้ผ้าหุ้ม เสื้อ เอวต่ำถึงแนวสะโพก มีเครื่องรัดอกและเอว เสื้อคอสูงติดคาง มีจีบรอบโดยมีโครงลวดเล็ก ๆ เป็นที่ยึดให้เป็นจีบ ริเริ่มการใช้ถุงมือหนัง และสวมรองเท้าส้นสูงจนถึงปัจจุบัน ใช้น้ำหอม
สมัยราชวงศ์ The Valois 
พระเจ้าชาร์ลที่ 9 และพระเจ้าเฮนรี่ที่ 3 (1560-1574, 1574-1589) 
ในสมัยพระเจ้าชาร์ลที่ 9 เสื้อผ้าชายจะมีเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย คือใส่เสื้อ Pourpoint หรือ Doublet เป็นเสื้อเข้ารูปจากเอวลงมาจะมีชายเสื้อเหลือคลุมถึงสะโพกเหมือนใส่กระโปรงสั้น เจาะผ้า แขนยาว ปลายแขนคับ เสื้อชั้น ในมีปก บางทีคอฟู ๆ สวมเสื้อคล้ายปีกนก หนุนไหล่ให้ตั้ง นิยมแขวน นาฬิกาไว้ข้างเอว และมีกระเป๋าติดไว้ที่แขนเสื้อนอก สวมหมวกกำมะหยี่และไหม ประดับขนนก

หญิงนิยมสวมกระโปรงซึ่งมีโครงด้านในลักษณะเป็นวงล้อกลม ๆ ติดไว้ที่สะโพกเพื่อให้ กระโปรงภายนอกบานออก สวมเสื้อคอสูง บานรอบคอหนุนไหล่ให้ตั้ง แขนพอง มีแขนปลอมสวมไว้

ผม ชายตัดสั้น ไว้หนวดตัดเรียวแหลม หญิง ผมแสกกลางม้วนไว้ด้านข้าง นิยมใช้ปลอกมือ เรียกว่า Muffs ทำด้วยขนสัตว์สีต่าง ๆ เครื่องแต่งกายนิยมสีดำ

สมัยพระเจ้าเฮนรี่ที่ 3 แบบเสื้อนับว่าเสื่อมลงเพราะพระองค์นิยมฉลองพระองค์แบบผู้หญิง สวมเสื้อซับในให้พอง มีลายตามขวาง ชายเสื้อด้านหน้าแหลม ด้านข้างพอดีเอว คอเสื้อขดด้วยลวด บนผ้า ปลายจะบานออก ชายเสื้อจะลงมาคลุมสะโพก ช่วงขาสวมกางเกงยาวแค่เข่า เรียกว่า Canions ใส่เสื้อคลุมทั้งยาวและสั้น เรียกว่า Capes ถ้ามีหมวกติดกับเสื้อคลุมเรียกว่า Cowl

เสื้อของผู้หญิงไม่มีการเปลี่ยนแปลง กระโปรงจะมีโครงด้านในเรียกว่า Frencdh verdingale เป็นหมอนผูกไว้ที่ส่วนสะโพกเพื่อให้กระโปรงกางออก รูปทรงกระโปรงจะแบน ด้านหน้าและหลังพองออกมาก ๆ เสื้อคลุมส่วนมากจะยาวถึงพื้น กางออกเป็นรูประฆัง ริมชายเสื้อ ประดับด้วยขนสัตว์ แขนพอง ผ่ากลางหน้า

ผม นิยมขดเป็นก้นหอย แสกกลาง เกล้ามวยไว้ข้างหลัง รองเท้า นิยมรองเท้า Boots ทำจากหนัง
สมัยพระเจ้าเฮนรี่ที่ 4 และพระนางแมรี่ เดอร์ มิดิซี (1589-1610-1617) 
มีการใช้ waistcoat แทน doublet หรือ Pourpoint ใช้ Jacket เป็นตัวเสื้อนอกแทน เสื้อ คลุม ชุดทูนิคเปลี่ยนเป็น dress รองเท้าผู้ชายนิยมส้นสูงที่ตกแต่งด้วยดอกกุหลาบ

กระโปรงผู้หญิงกางออกมาจากเอวเป็นวงกลม บางทีก็ออกจากด้านข้างแบบสเปนยังคงใช้ โครงด้านใน เครื่องรัดทรง กระโปรงทำจากผ้าไหมปัก และตกแต่งริบบิ้น
สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 (1610-1643) 
ระยะแรกยังคงใช้เสื้อรัดรูป มีตกแต่งที่คอและแขนด้วยลูกไม้ สวมกางเกงขายาวถึงเข่า รวบรัดปลายขา ไว้ด้วยริบบิ้น เรียกว่า Cannons เลิกใช้กางเกง Trunk hose ใส่ Waistcoat แขนเสื้อจะเป็นแขนของตัวเสื้อเอง ไม่ใช้แขนเสื้อปลอม เสื้อเจาะเห็นเสื้อเชิ้ต ตัวใน ปกเป็นปกหลอก

รองเท้าบูท ทำด้วยหนัง ได้แบบจากสเปน รองเท้าจะมี Spurs ที่ส้นรองเท้า ถุงเท้าถักจาก ไหมสีแดง

ผมนิยมสวมวิกเป็นหลอด ๆ ชายไว้ผมแสกกลางดัดหยิกปล่อยยาวถึงไหล่ ผู้หญิงรวบขึ้น แล้วปล่อยบางส่วนลงมาเป็นหลอด

หญิง ระยะแรกแต่งกายเหมือนเดิม ระยะหลังเสื้อไม่รัดตัวมาก ตัวกระโปรงพองน้อยลง เอวเริ่มสูงขึ้น บางทีสวมผ้ากันเปื้อนประดับลูกไม้

รองเท้าทำด้วยผ้าต่วนไหมหรือหนังจากมอรอคโค ส้นสูง ส่วนถุงน่องสีชมพู สีแดง รองเท้า มีลิ้น ข้างบนติดดอกกุหลาบบนลิ้น ด้านบน
สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ค.ศ. 1644-1661-1670 
ในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 จะเป็นช่วงที่ฝรั่งเศสเป็นผู้นำแฟชั่น เครื่องแต่งกายจะนิยม ประดับด้วยลูกไม้

ผู้ชาย จะสวมเสื้อข้างในรูดพองที่ข้อมือ และมีระบายลูกไม้เป็นแถบกว้างที่ปลายแขน และติดลูกไม้บริเวณอกเสื้อ สวมเสื้อตัวนอกเป็น Jacket เอวลอย นิยมผ้าพันคอประดับลูกไม้ คาดสายสะพายประดับลูกไม้บาง บางแบบสวมเสื้อคลุมยาวและพอง บางแบบจะสวมทั้งกางเกง และกระโปรง ลักษณะกระโปรงจีบพองประดับลูกไม้ กางเกงจะรูดพองที่ปลายขา และมีระบาย ลูกไม้กว้างที่ปลายขากางเกง

ผู้หญิง สวมกระโปรงชั้น ในพองประดับด้วยทอง เงิน ลูกไม้ ริบบิ้น เป็นผ้าไหมคอกว้าง แขนจีบพองติดลูกไม้เป็นระบาย กระโปรงชั้น ที่ 2 สวมทับตัวแรกมีผ่าหน้า ด้านหลังปล่อยยาว เป็นหาง สวมเสื้อคลุมมีจีบพองด้านหลังมีหมวกเย็บติด รูปทรงของเสื้อด้านในจะรัดรูป

รองเท้า ผู้หญิงจะสวมรองเท้าส้นสูง ทำจากผ้าต่วนปัก หรือหนังตกแต่งด้วยริบบิ้น ดอกกุหลาบ เพชรพลอย ผู้ชายสวมรองเท้า Baskin เป็นรองเท้าหนัง และผ้ามีสายรัดยาวครึ่งน่อง หัวเหลี่ยม ส้นใหญ่ ด้านหน้ามีโบว์ประดับ

ผม นิยมสวมวิก ให้ยาวและหยิก
สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งเป็นหลานของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ครองราชย์ต่อมาไม่นานก็ลง สำเร็จโทษโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ฉะนั้น การแต่งกายของสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 จะมีการ เปลี่ยนแปลงเครื่องประกอบการแต่งกายเล็กน้อย ทรงผมของผู้ชายจะสวมวิกที่เรียกว่า Cadogan wig มีม้วนเป็นหลอดอยู่สองข้าง รูปทรงของหมวกและการผูกผ้าพันคอของผู้ชาย ส่วนของผู้หญิง รูปทรงกระโปรงยังคงบานในลักษณะวงกลมเช่นเดิม มีโครงในกระโปรงเรียกว่า Doble Panmiers ชุดก็ยังคงมีลูกไม้และริบบิ้น ตกแต่งเป็นผ้าต่วนไหมและกำมะหยี่ กระโปรงจะมีผ่าหน้าและยกหยัก รั้งด้านข้าง ทั้ง 2 ข้างขึ้น ไปพองอยู่ด้านข้าง 2 ข้าง
ในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 มีความสุรุ่ยสุร่าย หรูหรามาก ประกอบกับพระมเหสีคือ พระนางแมรี่ อังตัวเนต ชอบการแต่งกาย ฉลองพระองค์ด้วยเสื้อ รัดรูป คอลึก กระโปรงพอง ด้านหลังด้วยการจับจีบเดรฟ มีโครงกระโปรงที่เรียกว่า สุ่มไก่ ทำด้วยโลหะสามารถกางและหุบได้ ทรงผมประดับด้วยไข่มุก ขนนก และดอกไม้

ผู้ชายจะสวมเสื้อคลุมยาวปิดสะโพก นุ่งกางเกงรัดขา ใส่ถุงเท้ายาว เสื้อชั้น ในเป็นเชิ้ต มี จีบระบายที่อกและแขน มีเสื้อตัวสั้น ทับก่อนใส่เสื้อคลุม
สมัยไดเรคโตรี่ Directories (1795-1799) 
คณะกรรมการไดเรคโทรี่ เข้าปกครองประเทศฝรั่งเศสหลังจากฝรั่งเศสกำลังปฏิวัติครั้งใหญ่ และมีนักออกแบบได้เปลี่ยนแนวคิดการออกแบบเครื่องแต่งกายแนวใหม่ เรียกว่านิวคลาสสิคซีซัม (New Cassicism) ซึ่งมีลักษณะเหมือนการแต่งกายของกรีกและโรมันในยุคท้าย ๆ คือ เสื้อมี ลักษณะเอวสูงขึ้น ไปถึงอก ทรงหลวม ๆ มีโบว์ตกแต่งใต้อก คอกว้าง เลิกใช้เครื่องรัดทรง ใช้ผ้า เนื้อบางเบา สวมรองเท้าสานเตี้ย

การแต่งกายของชาย จะสวมเสื้อเชิ้ต สีขาว ใส่เสื้อรัดตัวที่เรียกว่า waist coats ทับสวม กางเกงรัดขายาวครึ่งน่องหรือถึงข้อเท้า สวมเสื้อโคทยาวปิดสะโพก แขนรัดรูปปกแบะใหญ่ออก มีขนาดใหญ่ นิยมผูกผ้าพันคอสูง ไว้ผมทรงยุ่ง ๆ มีจอนข้างหูเรียก “dog’s ears” สวมรองเท้าบูท
สมัยฝรั่งเศสคอนซูเลท และเอ็มไพร์ 

The French Consulate and first Empire 1799-1815
ในสมัยนี้ประเทศฝรั่งเศสจะตกอยู่ในการปกครองของจักรพรรดิ โปเลียน ซึ่งทำการปฏิวัติ มาจากคณะไดเรคโตรี่

เครื่องแต่งกายจะเหมือนกับสมัยของ Directories แต่จะเรียกทรงเอ็มไพร์ หรือเรียกอีก อย่างหนึ่งว่า คลาสสิเคอร์ สไตล์ “Classical Style” มีลักษณะเหมือนกับกรีกและโรมัน คือ ลักษณะชุดกระโปรงจะตรงลงไประดับของเอวอยู่ใต้อก

เครื่องแต่งกายชายเริ่มจะเป็นปัจจุบันมากขึ้น เริ่มนุ่งกางเกงทรงใหม่ ๆ เริ่มใช้ผ้าพันคอ และออกแบบเสื้อสูทแบบต่าง ๆ มีทั้งแบบ Claw hammer taill เป็นเสื้อสูทที่ข้างหน้าสั้น แค่เอว ข้างหลังเป็นหางยาวคลุมสะโพกมีแหวกตรงกลาง และแบบเต็มทั้งตัว

ในสมัยนี้จะมีเสื้อยกทรงตัวแรกทำด้วยผ้ามัสลิน เรียก แบนเดิน “Bandean” ซึ่งต่อมา วิวัฒนาการเป็นเสื้อยกทรง
สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 (1815-1824) 
จะเป็นสมัยที่ฝรั่งเศสกลับมาหรูหรา ฟุ่มเฟือยอย่างเดิมอีก โดยนำเอาการแต่งกายของ สมัยพระนางแมรี่ อังตัวเนต และพระนางโยเซฟฟิน ซึ่งเป็นมเหสีของนโปเลียนมาผสมผสานกัน มีการตกแต่งหรูหราเพิ่มขึ้น แต่พอควร ให้ความรู้สึกละเอียดอ่อน เอวซึ่งเคยสูงก็กลับมาอยู่ในระดับ ปกติและรัดรูป กระโปรงบานออก แขนใหญ่ พองฟู ติดลูกไม้หรือโบว์ที่ขอบแขนเสื้อ แขนเสื้อทรง ขาหมูแฮม ผมเป็นลอนที่ท้ายทอยและหน้าผาก
สมัยพระเจ้าหลุยส์ฟิลลิป (1830-1848) 
ในสมัยนี้จะลดความหรูลง มีการจีบและระบายน้อยลง มาใช้การปักแทน ผู้หญิงจะไว้ผม เป็นหลอดและใช้โบว์คาดไว้ สวมรองเท้าหนัง มีขนสัตว์และริบบิ้นผูก เครื่องรัดทรงมีลูกไม้ตกแต่ง สีดำ ส่วนชายสวมเสื้อคลุมมีปก ตัวเสื้อยาวผ่าหน้าเข้ารูป เรียกว่า frock coat สวมกางเกงทรงแคบ เสื้อชั้น ในสีขาวมีปกตลบที่คอ
ฝรั่งเศสสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (1848-1870) ในสมัยนี้ฝรั่งเศสจะมีการปกครองแบบมีประธานาธิบดีเป็นผู้บริหารประเทศ จะมีการ แต่งกายที่มีลักษณะที่เรียกว่า S-line สตรีจะสวมกระโปรงที่มีเส้น Princess ใช้ผ้าไหม ใช้ผ้าเนื้อ บางทำเป็นปก สวมถุงมือ ผมหยัก ใช้โครงลวดข้างในดันเฉพาะด้านหลัง เอวเล็ก และดันทรงให้ อกแอ่น เสื้อมีแขนปลอม สำหรับผู้ชายสวมเสื้อคลุมตัวหลวม ซับในด้วยผ้าต่วน เสื้อเชิ้ต สวมด้านในนุ่งกางเกง ลายทางที่นิยมกัน สวมหมวกไหมสีดำ รองเท้าดำ

ฝรั่งเศสสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 (1870-1880) 
การแต่งกายของสตรีสมัยนี้จะคล้ายสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ลักษณะของทรงกระโปรง จะเป็นตัว “S” มีการดันก้นด้านหลังให้โด่งขึ้น ด้วยการใช้เครื่องชั้น ในเรียกว่า Braided Wire bustles เป็นโครงลวดที่ทำเป็นชั้น ๆ กระโปรงที่ใส่ด้านในจะมีลูกไม้ประดับเป็นชั้น ๆ เพื่อให้ข้างหลังพอง

และในปีต่อ ๆ มาก่อนมีสงครามโลกครั้งที่ 1 ก็เริ่มมีนักออกแบบเกิดขึ้น มีแฟชั่นที่เรียกว่า Gibson girl มีลักษณะเป็นเสื้อรัดรูปดันอกใช้ผ้าตาเล็ก ๆ สี่เหลี่ยมเป็นผ้าทาฟต้า สวมเสื้อกัก สั้น ผ่าหน้าที่เรียกว่า Bolero ผูกโบว์ที่คอ ประดับด้วยกุหลาบ ใบไม้ ลูกไม้ มีเสื้อ Princess line จากสมัยนี้
ฝรั่งเศสหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 (1920-1930-1942) 

ในสมัยที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศไทยเราอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 6 หลังจาก สงครามโลกแล้ว ผู้หญิงจะมาแต่งตัว นุ่งกระโปรงรัดรั้งอย่างเดิมไม่ได้ เพราะในช่วงสงครามผู้หญิง จะต้องแต่งตัวแบบสบาย ๆ และเศรษฐกิจหลังสงครามตกต่ำ จึงมีการเปลี่ยนแปลงแฟชั่นใหม่ในปี ค.ศ. 1920 ซึ่งเรียกว่า The Gay Twenties หรือแฟชั่นปี 1920 ซึ่งเป็นมูลฐานในการเรียกแฟชั่นแต่ ละปี

The Gay Twenties เป็นเสื้อที่เก๋สวมใส่สบาย ทรงหลวม ตัวยาวแค่สะโพก กระโปรง คลุมเข่าเรียกว่า Gasby สำหรับชุดราตรียาว นิยมผ้าต่วนดำ ทรงกระโปรงจะบานตรงชาย เล็กน้อย เปิดผ่าด้านหลัง เริ่มมีชุดอาบน้ำที่ทำจากผ้าเจอร์ซี่ ถุงน่อง เสื้อยกทรง “Brassiere” กระโปรงชั้น ใน “Petticoat” ทำด้วยผ้าเจอร์ซี่ ชุด Slip มีสเตย์รัดหน้าท้อง
สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 (1942) 
เป็นภาวะที่ฝรั่งเศสขาดแคลนเครื่องแต่งกาย สินค้าผ้าขาดแคลน การแต่งกายของผู้หญิง ต้องมีการจำกัดเรื่องผ้า เป็นกระโปรงทรงตรง ๆ แคบ ผ่าข้างหลัง หรือหน้าเพื่อให้เดินสะดวก ชายเสื้อกระโปรงพับได้ไม่เกิน 1 นิ้ว
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (New Look 1974)
เมื่อสงครามโลกดำเนินมาได้ 4 ปี หลังจากนี้ก็มีนักออกแบบเสื้อผ้าเกิดขึ้น หลายคน จนกระทั่ง ค.ศ. 1974 Christian Diro ได้นำผลงานที่ชื่อ New Look ออกแสดงและประสบ ความสำเร็จเป็นลักษณะกระโปรงบาน คลุมเข่า จนถึงข้อเท้ามีหลายแบบทั้งเป็นผ้าเฉลียง จีบ รอบตัว ต่อระบายเป็นชั้น ๆ มีความกว้างมาก เสื้อเป็นเสื้อเข้ารูป และมีกระโปรงทรง A-line ที่ น่าสนใจอีกชั้น หนึ่ง ลักษณะกระโปรงจะบานออกเล็กน้อย และใช้เกล็ดตามยาวช่วยทำให้ดู รูปร่างดีขึ้น

สำหรับเครื่องแต่งกายของผู้ชายได้วิวัฒนาการจากเดิมมาก ตัดความหรูหราเกินความ จำเป็น ลงไปบ้าง และใช้เป็นชุดสากลมาจนปัจจุบันนี้

วันพุธที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556

''French toast''

French toast



              French toast, also known as eggy bread or gypsy toast,is a dish of bread soaked in beaten eggs and then fried.
               When French toast is served as a sweet dish, milk, sugar, vanilla or cinnamon are also commonly added before pan-frying, and then it may be topped with sugar (often powdered sugar), butter, fruit, or syrup. When it is a savory dish, it is generally fried with a pinch of salt, and can then be served with a sauce such as ketchup or mayonnaise.


History and names

             The earliest known reference to French toast is in the Apicius, a collection of Latin recipes dating to the 4th or 5th century; the recipe mentions soaking in milk, but not egg, and gives it no special name, just aliter dulcia "another sweet dish". There is a 14th-century German recipe under the name "Arme Ritter" "poor knights", a name also used in the Scandinavian languages.
In the 14th century, Taillevent presents a recipe for "tostées dorées".
              There are 15th-century English recipes for "pain perdu" (French for "lost [or wasted] bread", suggesting that the dish is a use for bread which has gone stale).
              Various versions of French toast under a variety of names—"suppe dorate", "soupys yn dorye", etc.—were prepared throughout Europe in the Middle Ages. They were sometimes served with game birds. An Austrian and Bavarian term is "Pavese", perhaps related to a kind of wooden shield or to zuppa pavese, both referring to Pavia, Italy.

Preparation and serving


                Slices of bread are soaked or dipped in a mixture of beaten eggs, often with milk or cream. The slices of egg-coated bread are then fried on both sides until they are browned and cooked through. Day-old bread is often recommended by chefs because the stale bread will soak up more egg mixture without falling apart.
               The cooked slices are often topped with jam, marmalade, butter, nut butter, honey, MarmiteVegemitemaple syrupgolden syrup, fruit flavored syrup,molassesapple saucebaked beanswhipped cream, fruit, chocolate, Nutella, sugar, yogurt, powdered sugar, bacon, treacle, tomato ketchup, cheese, cold cooked meats, ice cream, gravy, various nuts, or other similar toppings.


Variations


Stuffed French toast is a sandwich of two pieces of French toast filled with bananas, strawberries, or other fruit. It is usually topped with butter, maple syrup, and powdered sugar.
Torrija is a similar recipe traditionally prepared in Spain for Lent and Holy Week.Hong Kong–style French toast is listed at number 38 on the World's 50 most delicious foods compiled by CNN Go in 2011. It is made by deep-frying stacked sliced bread dipped in beaten egg or soy, served with a slab of butter and topped with golden syrup, or sometimes honey. Two slices are normally used and a sweet filling is usually added.
Rabanadas or Fatias Douradas is the Portuguese variation served with a Port Wine based syrup and prepared as desert during Christmas period.